การประยุกต์ในงานท่อสายไฟ

การประยุกต์ในงานท่อสายไฟ ( การต่อ ท่อ EMT เข้ากับ ท่อลูกฟูกพลาสติกที่มีขนาดต่างกัน )

ในงานติดตั้งและดินสายไฟในบางครั้ง ผู้ปฏิบัติงาน ต้องปฏิบัติเพื่อให้ ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน หรือบริเวณที่ต้องเดินสายไฟให้มีความยืดหยุ่นสูงจึง ต้องหาอุปกรณ์ หรือใช้อุปกรณ์ ที่มีอยู่แล้ว ย่อมก็ให้เกิดปัญหา  หากต้องดัดแปลงเพื่อให้ได้งานตามที่ลูกค้าต้องการ

บทความนี้เป็นการประยุกต์ การสายไฟในท่อ EMT ร่วมกับ ท่อลูกฟูก  โดยปฏิบัติดังนี้

  1. ลักษณะของงานที่ต้องการเดินสายไฟ

emt01

จากภาพต้องการ เดินสายไฟ จากท่อ EMT ขนาด ¾ นิ้ว มายังกล่องLB ขนาด รู ½ นิ้ว โดยเชื่อมกับ โดยที่ความยาวของท่อไม่พอ เราอาจนำ ท่อย่น มาเชื่อมต่อได้ดังนี้

  1. อุปกรณ์ที่นำมาประยุกต์

1 Connector กันน้ำ EMT ขนาด ¾ นิ้ว

emt02

2 Couping IMC ขนาด ¾ นิ้ว

emt03

3 เกลียวลด ¾ – ½ นิ้ว

emt04

4 flex กันน้ำ R/T ไส้สีน้ำเงิน ขนาด ½ นิ้ว

emt05

3.ขั้นตอนการประยุกต์

1 ต่อท่อ EMT เข้ากับ Connector กันน้ำ EMT

emt06

emt07

emt08

emt09

หมุนเกลียวให้แน่นพอประมาณ

2 Connector กันน้ำ ท่อ EMT ต่อเข้า Couping IMC  ¾ นิ้ว

emt10

emt11

หมุนเกลียวให้แน่นพอประมาณ

3 เกลียวลด ¾ นิ้ว – ½ นิ้ว ต่อ เข้ากับ Couping IMC ¾ นิ้ว

โดยใช้ด้านที่เป็นเกลียวนอก ขันเข้ากับ เกลียว ของ Couping IMC

emt12

emt13

4 ทำการต่อ Connector Flex กันน้ำไส้ สีน้ำเงิน ขนาด ½ นิ้ว

เข้ากับเกลียวลด ด้าน ½ นิ้ว โดยสังเกต จาก Connecto ด้านที่มีเกลียวนอก

emt14

emt15

emt16

นำท่อ ย่นขนาด ½ นิ้วมาต่อ

5. นำ Connector Flex กันน้ำ ไส้ สีน้ำเงินมาต่อ อีกด้านของ ท่อย่น

emt17

emt18

6. ทำการต่อเข้ากับ LB Box ขนาด ½ นิ้ว

emt19

emt20

ต่อข้ากับ LB Box เสร็จสิ้น แล้ว

ความแข็งแรงหลังจากทำการเดิน เสร็จ

emt21

หากต้องต่อเข้ากับ Box ที่เป็นพลาสติก สามารถใช้ Connector ของท่อย่อ ต่อเข้าโดยตรงตามภาพได้

emt22

แบบใช้ Connector ท่อย่น

emt23

แบบใช้ Connector ไส้สีฟ้า

หากต้องการความทนทานหนาแน่นมากขึ้นสามารถใช้เทปพันเกลียวพันบริเวณข้อต่อเกลียวได้ครับ

อ้างอิง

WWW. FON.CO.TH